You're currently viewing an old version of this dataset. To see the current version, click
here.
พื้นที่การเกษตร (มันสำปะหลัง) ที่ได้รับความเสียหายจากฝนแล้ง
URL: https://nakhonsawan.gdcatalog.go.th/dataset/83cbda73-514d-4c7d-92df-0d69ec7b32b6/resource/260725d8-4eaf-495a-8e6c-a739b04b3a9a/download/-.xlsx
พื้นที่การเกษตร (ข้าว มันสำปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ อ้อยโรงงาน) ที่ได้รับความเสียหายจากฝนแล้ง ภัยแล้งในประเทศไทยจะเกิดใน 2 ช่วง ได้แก่ 1. ช่วงฤดูหนาวต่อเนื่องถึงฤดูร้อน ซึ่งเริ่มจากครึ่งหลังของเดือนตุลาคมเป็นต้นไป บริเวณประเทศไทยตอนบน (ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลางและภาคตะวันออก) จะมีปริมาณฝนลดลงเป็นลำดับ จนกระทั่งเข้าสู่ฤดูฝนในช่วงกลางเดือนพฤษภาคมของ ปีถัดไป ซึ่งภัยแล้งลักษณะนี้จะเกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี 2. ช่วงกลางฤดูฝน ประมาณปลายเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม จะมีฝนทิ้งช่วงเกิดขึ้น ภัยแล้งลักษณะนี้จะเกิดขึ้นเฉพาะท้องถิ่นหรือบางบริเวณ บางครั้งอาจครอบคลุมพื้นที่เป็นบริเวณกว้างเกือบทั่วประเทศ พื้นที่ใดในประเทศไทยที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง ภัยแล้งในประเทศไทยส่วนใหญ่มีผลกระทบต่อการเกษตรกรรม โดยเป็นภัยแล้งที่เกิดจากขาดฝนหรือ ฝนแล้ง ในช่วงฤดูฝน และเกิด ฝนทิ้งช่วง ในเดือนมิถุนายนต่อเนื่องเดือนกรกฎาคม พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้งมาก ได้แก่บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เพราะเป็นบริเวณที่อิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉียงใต้เข้าไปไม่ถึง และถ้าปีใดไม่มีพายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนผ่านในแนว ดังกล่าวแล้วจะก่อให้เกิดภัยแล้งรุนแรงมากขึ้น นอกจากพื้นที่ดังกล่าวแล้ว ยังมีพื้นที่อื่น ๆ ที่มักจะประสบปัญหาภัยแล้งเป็นประจำอีกดังตารางข้างล่าง
Data Dictionary
หลัก |
ประเภท |
ป้ายกำกับ |
รายละเอียด |
ปี |
text
|
|
|
อำเภอ |
text
|
|
|
พื้นที่เสียหาย |
text
|
|
|
หน่วยนับ |
text
|
|
|
ข้อมูลเพิ่มเติม
ฟิลด์ |
ค่า |
|
นามสกุลของไฟล์ |
XLSX |
สัญญาอนุญาตให้ใช้ข้อมูล |
License not specified
|
เงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูล |
ไม่มี |
ปีข้อมูลที่เริ่มต้นจัดทำ |
2564 |
ปีข้อมูลล่าสุดที่เผยแพร่ |
2565 |
การจัดจำแนก |
ไม่มี |
|
|
หน่วยวัด |
ไร่ |
หน่วยตัวคูณ |
หน่วย |
|
|
วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด |
|
วันที่กำหนดเผยแพร่ข้อมูล |
|
สถิติทางการ |
|
สร้างในระบบเมื่อ |
24 กุมภาพันธ์ 2566 |
ปรับปรุงครั้งล่าสุดในระบบเมื่อ |
14 มีนาคม 2566 |